เคล็ดลับการดูแลแผลผ่าคลอดอย่างถูกวิธี
การดูแลแผลผ่าคลอดเป็นอีกเรื่องที่คุณแม่ควรให้ความสำคัญ เพราะหากแผลได้รับการดูแลไม่เหมาะสมก็อาจเกิดปัญหาตาม
มาได้ เช่น มีการอักเสบติดเชื้อ เกิดรอยแผลเป็น และในบางคนอาจเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์ตามมา ซึ่งเชื่อว่าเป็นอีกปัญหาที่คุณ
แม่หลายคนกังวลใจ เนื่องจากแผลเป็นคีลอยด์อาจส่งผลต่อความสวยงามและทำให้สูญเสียความมั่นใจได้ไม่น้อย
การดูแลแผลผ่าคลอดเป็นอีกเรื่องที่คุณแม่ควรให้ความ
สำคัญ เพราะหากแผลได้รับการดูแลไม่เหมาะสมก็อาจ
เกิดปัญหาตาม มาได้ เช่น มีการอักเสบติดเชื้อ เกิดรอย
แผลเป็น และในบางคนอาจเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์
ตามมา ซึ่งเชื่อว่าเป็นอีกปัญหาที่คุณ แม่หลายคนกังวล
ใจ เนื่องจากแผลเป็นคีลอยด์อาจส่งผลต่อความสวยงาม
และทำให้สูญเสียความมั่นใจได้ไม่น้อย
หลังผ่าคลอด
คุณแม่ควรดูแลแผลดังนี้
คุณแม่ควรดูแลแผลดังนี้
แผลผ่าตัดหลังคลอดเป็นแผลที่สะอาด หากมีการปิด
แผลด้วยพลาสเตอร์กันน้ำแล้ว คุณแม่ไม่จำเป็นต้องเปิด
ล้างแผล ยกเว้นมีการซึมของแผล สิ่งที่ต้องระวังคือ
ภาวะแผลอักเสบติดเชื้อ ดังนั้น ควรระวังไม่ให้แผลถูก
น้ำ ในระหว่างนี้แนะนำคุณแม่อาบน้ำฝักบัวแทนการ
แช่น้ำในอ่าง ดูแลแผลอย่างเคร่งครัดตามคำแนะนำของ
แพทย์ และหากมีไข้ ปวด แผลบวมแดง
ควรรีบไปพบแพทย์
แผลด้วยพลาสเตอร์กันน้ำแล้ว คุณแม่ไม่จำเป็นต้องเปิด
ล้างแผล ยกเว้นมีการซึมของแผล สิ่งที่ต้องระวังคือ
ภาวะแผลอักเสบติดเชื้อ ดังนั้น ควรระวังไม่ให้แผลถูก
น้ำ ในระหว่างนี้แนะนำคุณแม่อาบน้ำฝักบัวแทนการ
แช่น้ำในอ่าง ดูแลแผลอย่างเคร่งครัดตามคำแนะนำของ
แพทย์ และหากมีไข้ ปวด แผลบวมแดง
ควรรีบไปพบแพทย์
หลังจากเปิดแผลแล้ว ก็ยังคงต้องเอาใจใส่ดูแลแผลต่อ
เนื่องจากกระบวนการซ่อมแซมผิวยังคงดำเนินต่อไปอีก
ประมาณ 3-6 เดือน ดังนั้นในระหว่างนี้แนะนำให้หลีก
เลี่ยงการยกของหนัก การขยับยืดตัวหรืออยู่ในท่าที่
ทำให้แผลยืดจนรู้สึกตึงเกินไป
เนื่องจากกระบวนการซ่อมแซมผิวยังคงดำเนินต่อไปอีก
ประมาณ 3-6 เดือน ดังนั้นในระหว่างนี้แนะนำให้หลีก
เลี่ยงการยกของหนัก การขยับยืดตัวหรืออยู่ในท่าที่
ทำให้แผลยืดจนรู้สึกตึงเกินไป
การใช้ซิลิโคนเจลเป็นอีกวิธีที่ช่วยป้องกันและรักษาแผล
เป็นนูนคีลอยด์ที่สามารถทำได้เองไม่ยากในระยะเริ่ม
แรก โดยกลไก คือ ซิลิโคนเจลจะช่วยเพิ่มความชื้น
ลดการระเหยน้ำจากแผลเป็นคีลอยด์ ช่วยลดการ
ทำงานของไฟโบรบลาส และลดการสร้างคอลลาเจนที่
ผิดปกติ โดยอาจเลือกใช้เป็นซิลิโคนเจลแผ่นแปะ ซึ่งควร
แปะแผ่นซิลิโคนเจลต่อเนื่องอย่างน้อยวันละ 12 ชั่วโมง
นานอย่างน้อย 6-12 เดือน และถ้าเป็นในรูปแบบเจลทา
ให้เริ่มทาตั้งแต่ตอนที่แผลแห้งและปิดสนิทมีสีชมพู
ทาวันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ปาดครั้งเดียว ไม่ต้องถูไปมา
หลังทาแล้วเจลจะแห้งเหมือนฟิล์มบาง ๆ เคลือบผิวไว้
หลังทาแล้วควรปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 3-5 นาที ก่อนใส่
เสื้อผ้าทับ เพื่อป้องกันการลอกหลุดของเจล และหาก
เวลารีบด่วนอาจใช้ไดร์หรือพัดลมเป่าช่วยแห้งเร็วขึ้นได้
เป็นนูนคีลอยด์ที่สามารถทำได้เองไม่ยากในระยะเริ่ม
แรก โดยกลไก คือ ซิลิโคนเจลจะช่วยเพิ่มความชื้น
ลดการระเหยน้ำจากแผลเป็นคีลอยด์ ช่วยลดการ
ทำงานของไฟโบรบลาส และลดการสร้างคอลลาเจนที่
ผิดปกติ โดยอาจเลือกใช้เป็นซิลิโคนเจลแผ่นแปะ ซึ่งควร
แปะแผ่นซิลิโคนเจลต่อเนื่องอย่างน้อยวันละ 12 ชั่วโมง
นานอย่างน้อย 6-12 เดือน และถ้าเป็นในรูปแบบเจลทา
ให้เริ่มทาตั้งแต่ตอนที่แผลแห้งและปิดสนิทมีสีชมพู
ทาวันละ 2 ครั้ง เช้าเย็น ปาดครั้งเดียว ไม่ต้องถูไปมา
หลังทาแล้วเจลจะแห้งเหมือนฟิล์มบาง ๆ เคลือบผิวไว้
หลังทาแล้วควรปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 3-5 นาที ก่อนใส่
เสื้อผ้าทับ เพื่อป้องกันการลอกหลุดของเจล และหาก
เวลารีบด่วนอาจใช้ไดร์หรือพัดลมเป่าช่วยแห้งเร็วขึ้นได้
การนวดแผลเป็นด้วยมอยซ์เจอไรเซอร์อย่างสม่ำเสมอ
จะช่วยเพิ่มความชุ่มชื้น แผลนุ่มและแบนราบได้เร็วขึ้น
จะช่วยเพิ่มความชุ่มชื้น แผลนุ่มและแบนราบได้เร็วขึ้น
หลีกเลี่ยงไม่ให้บริเวณแผลผ่าตัดถูกแสงแดด
หลีกเลี่ยงการถูหรือสัมผัสบริเวณแผล และใส่เสื้อผ้า
ที่ไม่รัดแน่น เพื่อลดการเสียดสีบริเวณแผล
ที่ไม่รัดแน่น เพื่อลดการเสียดสีบริเวณแผล
รับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ โภชนาการเพียงพอ
เพื่อให้กระบวนการซ่อมแซมแผลเป็นไปได้อย่าง
สมบูรณ์และรวดเร็ว
เพื่อให้กระบวนการซ่อมแซมแผลเป็นไปได้อย่าง
สมบูรณ์และรวดเร็ว
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะอาจทำให้แผล
หายช้าได้
หากปฏิบัติตัวตามนี้แล้วประมาณ 3-6 เดือน แนวโน้ม
แผลเป็นคีลอยด์เป็นมากขึ้น แนะนำปรึกษาแพทย์เพื่อ
พิจารณาปรับการรักษาด้วยวิธีอื่นเพิ่มเติมตามความ
เหมาะสม อย่าลืมว่าโอกาสเกิดแผลเป็นคีลอยด์
และการตอบสนองต่อการรักษาของผิวแต่ละบุคคลนั้น
แตกต่างกัน ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาแผลเป็นคีลอยด์
ที่ได้ผลดีที่สุด ดังนั้นการดูแลแผลอย่างถูกวิธีโดย
เฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3-6 เดือนแรกหลังเกิดแผล
จึงเป็นสิ่งสำคัญจะที่ช่วยลดโอกาสการเกิดแผลเป็น
คีลอยด์ในอนาคตได้
หายช้าได้
หากปฏิบัติตัวตามนี้แล้วประมาณ 3-6 เดือน แนวโน้ม
แผลเป็นคีลอยด์เป็นมากขึ้น แนะนำปรึกษาแพทย์เพื่อ
พิจารณาปรับการรักษาด้วยวิธีอื่นเพิ่มเติมตามความ
เหมาะสม อย่าลืมว่าโอกาสเกิดแผลเป็นคีลอยด์
และการตอบสนองต่อการรักษาของผิวแต่ละบุคคลนั้น
แตกต่างกัน ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาแผลเป็นคีลอยด์
ที่ได้ผลดีที่สุด ดังนั้นการดูแลแผลอย่างถูกวิธีโดย
เฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3-6 เดือนแรกหลังเกิดแผล
จึงเป็นสิ่งสำคัญจะที่ช่วยลดโอกาสการเกิดแผลเป็น
คีลอยด์ในอนาคตได้
References
- Keloids: A Review of Etiology, Prevention, and Treatment J Clin
Aesthet Dermatol. 2020; 13(2): 33–43. - Management of scars: updated practical guidelines and use of
silicones Eur J Dermatol 2014; 24(4): 435-43.