ลูกหลับดี สมองยิ่งดี กระตุ้นการเรียนรู้ทั้งยามหลับและตื่น
เพราะเวลามากกว่า 50% ในแต่ละวันของลูกในช่วง
สามขวบ
ปีแรกของชีวิต คือการนอน1 อีกทั้งสมอง
ของเค้ายังเพิ่มขนาด
เกือบ 2 เท่า เมื่ออายุ 1 ปี
และมีพัฒนาการต่างๆ
เกิดขึ้นมากมาย
สามขวบ
ปีแรกของชีวิต คือการนอน1 อีกทั้งสมอง
ของเค้ายังเพิ่มขนาด
เกือบ 2 เท่า เมื่ออายุ 1 ปี
และมีพัฒนาการต่างๆ
เกิดขึ้นมากมาย
ซึ่งคุณแม่ส่วนใหญ่มักใส่ใจกับการกระตุ้นการเรียนรู้
ของลูก
ขณะตื่น แต่แท้จริงแล้วการให้ความสำคัญของ
ลูกขณะหลับ
ก็สำคัญไม่แพ้กัน คุณแม่เคยสงสัย
มั๊ยว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง
ระหว่างลูกนอนหลับ
ของลูก
ขณะตื่น แต่แท้จริงแล้วการให้ความสำคัญของ
ลูกขณะหลับ
ก็สำคัญไม่แพ้กัน คุณแม่เคยสงสัย
มั๊ยว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง
ระหว่างลูกนอนหลับ
เด็กวัย 1-3 ปี เป็นวัยที่ต้องเรียนรู้
อยู่ตลอดเวลา เพราะรอบตัวของเค้า
มีสิ่งใหม่ๆให้ได้เรียนรู้ได้มากกว่าที่คิด
อยู่ตลอดเวลา เพราะรอบตัวของเค้า
มีสิ่งใหม่ๆให้ได้เรียนรู้ได้มากกว่าที่คิด
การนอนนั้นเปิดโอกาส
ให้สมองได้ทบทวนข้อมูล
ให้สมองได้ทบทวนข้อมูล
ที่ได้รับมาและเปลี่ยนเป็นความจำพร้อมนำกลับมาใช้ใหม่1
เด็กที่นอนหลับอย่างมีคุณภาพ จะส่งผลช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนความรู้และความคิด
ประสิทธิภาพการเรียนความรู้และความคิด
ถ้าลูกนอนหลับไม่ดีจะส่งผลต่อการพัฒนาสมอง
ได้อย่างไม่เต็มที่
ได้อย่างไม่เต็มที่
การนอนที่มีคุณภาพ
คือ จุดเริ่มต้นในการสร้างการเรียนรู้
และความจำที่ดีของเด็กในวันรุ่งขึ้น
เพราะการนอนเป็นส่วนหนึ่ง
ของการเรียนรู้ การจดจำ และพัฒนาการที่ดีของเด็ก
และความจำที่ดีของเด็กในวันรุ่งขึ้น
เพราะการนอนเป็นส่วนหนึ่ง
ของการเรียนรู้ การจดจำ และพัฒนาการที่ดีของเด็ก
กรดอะมิโนจาก แอล-ทริปโตเฟน (L-Tryptophan)
และสารกาบา (GABA) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาท
ในระบบประสาทส่วนกลาง
และสารกาบา (GABA) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาท
ในระบบประสาทส่วนกลาง
ที่มีคุณสมบัติพิเศษช่วยให้ผ่อนคลาย
และทำให้นอนหลับได้ดี
และทำให้นอนหลับได้ดี
ช่วยสร้างไมอีลิน หนึ่งในกระบวนการสำคัญที่จะเชื่อมโยง
การทำงานของระบบประสาทในสมอง
การทำงานของระบบประสาทในสมอง
DHA มีความสําคัญต่อการสร้างสารที่ทําหน้าที่ส่งสัญญาณ
ระหว่างเส้นประสาท ซึ่งมีผลต่อการทํางานหรือ
การสั่งงานของสมอง
ระหว่างเส้นประสาท ซึ่งมีผลต่อการทํางานหรือ
การสั่งงานของสมอง
สร้างกิจวัตรก่อนนอนให้เป็นเวลาพิเศษที่จะพูดคุยกับลูก
เพื่อให้ลูกรู้สึกผ่อนคลายและปลอดภัย
เพื่อให้ลูกรู้สึกผ่อนคลายและปลอดภัย
ให้ลูกเข้านอนและตื่นนอนตรงเวลา
บรรยากาศห้องนอน สำหรับเด็กเล็กแนะนำให้แม่หรือ
พ่อ กล่อมลูก เข้านอน ด้วยการร้องเพลงหรือ
อ่านนิทาน ให้ฟัง เป็นการช่วยพัฒนาสมอง เรียนรู้
พ่อ กล่อมลูก เข้านอน ด้วยการร้องเพลงหรือ
อ่านนิทาน ให้ฟัง เป็นการช่วยพัฒนาสมอง เรียนรู้
สร้างกิจวัตรในระหว่างวันให้มีตารางเวลาสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมที่เร้าความตื่นเต้นหรือกิจกรรม
ที่ต้องเผชิญกับแสงที่จ้ามากเกินในช่วงเวลา
2 - 3 ชั่วโมงก่อนนอน
ที่ต้องเผชิญกับแสงที่จ้ามากเกินในช่วงเวลา
2 - 3 ชั่วโมงก่อนนอน
อย่าให้การนอนเกิดจากการขู่ หรือ เป็นการลงโทษ
จากการทำความผิด ควรสอนให้เด็กรับรู้ว่าการนอนเป็น
เวลาของความสุข
จากการทำความผิด ควรสอนให้เด็กรับรู้ว่าการนอนเป็น
เวลาของความสุข
หลีกเลี่ยงการเอาของเล่นมาให้เด็กเล่นเมื่อถึงเวลานอน
หลีกเลี่ยงอาหารหนัก หรือน้ำอัดลมที่มีคาเฟอีน
เป็นส่วนประกอบ
เป็นส่วนประกอบ
เด็กเล็กอายุ 1-2 ปี
ควรนอนหลับให้ได้ 11-14 ชั่วโมง
ควรนอนหลับให้ได้ 11-14 ชั่วโมง
เด็กโตอายุ 6-12 ปี
ควรนอนหลับ 9-12 ชั่วโมง
ควรนอนหลับ 9-12 ชั่วโมง
เด็กอายุ 3-5 ปี
ควรนอนหลับให้ได้ 10-13 ชั่วโมง
ควรนอนหลับให้ได้ 10-13 ชั่วโมง
โดยในเด็กเล็ก อายุต่ำกว่า 3 ปี
ยังนอนช่วงกลางวัน 1-2 ชั่วโมง
ยังนอนช่วงกลางวัน 1-2 ชั่วโมง
คุณแม่จึงควรให้ความสำคัญ
ของพัฒนาการของลูก
ของพัฒนาการของลูก
ทั้งขณะหลับและตื่น
เพื่อให้สมองของลูกพัฒนาได้เต็มศักยภาพ
ในช่วงวัยของเค้าสู่การเรียนรู้นอกกรอบในอนาคต
เพื่อให้สมองของลูกพัฒนาได้เต็มศักยภาพ
ในช่วงวัยของเค้าสู่การเรียนรู้นอกกรอบในอนาคต
เด็กโตมากกว่า 1 ปี ควรแนะนำให้ทานอาหารครบ 5 หมู่ร่วมด้วย เพราะเด็ก
ต้องการพลังงานและอาหารอื่นๆที่ครบ เพื่อ ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้
ต้องการพลังงานและอาหารอื่นๆที่ครบ เพื่อ ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้
References
- Ann utr Metab 2019;75 Zsuppl1):44-53
- International Journal of Tryptophan Research 2009:2 45-60
- Nutrients 2021: 13(1)
- Neuroimage. 2018; 178: 649-659.
- PLOS ONE | DOI:10.1371/journal.pone.0139897
- SOP : WN2022JAN007TH_Master Content
- Do & Don’t: การนอนในเด็ก | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย
มหิดล (mahidol.ac.th) - http://sasuksure.anamai.moph.go.th/file/6d7f625e-c5bc-41e3-a302-ff851a5…
- https://www.samitivejhospitals.com/th/article/detail/แก้ปัญหานอนไม่หลับ
- eNeuro. 2019 Aug 6;6(4): ENEURO.0421-18.2019.