2’-FL คืออะไร ? รู้จัก 2’-FL โอลิโกแซคคาไรด์ในนมแม่ (HMOs)

2'-FL คืออะไร รู้จัก 2'-FL โอลิโกแซคคาไรด์ในนมแม่ (HMOs)

18.05.2020

คุณแม่หลายท่านอาจจะเคยได้ยินหรือผ่านหู ผ่านตากันมาบ้างแล้วนะคะ กับคำว่า 2’-FL บางท่านอาจจะพอรู้แล้วว่าเจ้า 2’-FL คืออะไร แต่หลายท่านอาจจะยังไม่รู้ เพื่อคลายความสงสัยวันนี้เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับ รู้จัก 2’-FL ซึ่งเป็น HMOs ชนิดที่พบมากที่สุดในนมแม่  

headphones

PLAYING: 2'-FL คืออะไร รู้จัก 2'-FL โอลิโกแซคคาไรด์ในนมแม่ (HMOs)

อ่าน 4 นาที

2’-FL โอลิโกแซคคาไรด์ในนมแม่ (HMOs) 
สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อพัฒนาการที่ไม่สะดุดของลูกน้อย  

 

2’-FL คืออะไร คุณแม่หลายท่านอาจจะเคยได้ยินหรือผ่านหู ผ่านตากันมาบ้างแล้วนะคะ แต่หลายท่านอาจจะยังไม่รู้ เพื่อคลายความสงสัยวันนี้เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับ รู้จัก 2’-FL กันเลย  

 

รู้จัก 2’- FL  คืออะไรและพบได้ที่ไหนบ้าง 


คุณแม่รู้ไหมว่า นมแม่ที่ลูกดูดทุกวันนั้น ให้คุณประโยชน์ที่ช่วยให้ลูกแข็งแรงและเป็นการสะสมภูมิต้านทานให้กับลูกของคุณ และเจ้า 2’- FL หรือ  2’- ฟูโคซิลแลคโตส)  (2’-Fucosyllactose) พบในนมแม่ค่ะ และ 80%  ของแม่หลังคลอด สร้าง 2’-FL ได้  และ 2’-FL คือ HMOs (Human Milk Oligosaccharides) หรือ โอลิโกแซคคาไรด์ชนิดที่พบมากสุดในนมแม่  HMOs สร้างจากเต้านม มีปริมาณมากที่สุดในช่วงน้ำนมเหลือง (คือ นมแม่ที่ออกมา ในช่วง 5 วันหลังคลอด) ซึ่งเป็นสุดยอดของน้ำนมโดยมีสารหลายชนิดที่ให้ภูมิต้านทานสูงมาก โดยเฉพาะ โอลิโกแซคาไรด์  

 

ประโยชน์ของ 2’- FL (2’-Fucosyllactose)  

 

  • ป้องกันการติดเชื้อของลำไส้ HMOs รวมทั้ง 2’-FL เป็นอาหารของจุลินทรีย์สุขภาพในลำไส้ใหญ่ ซึ่งจุลินทรีย์สุขภาพที่มีจำนวนมาก จะป้องกันการติดเชื้อของลำไส้ 
  • ป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์ก่อโรคมาเกาะผิวลำไส้  (Anti-Adhesive antimicrobial) ไวรัส แบคทีเรีย หรือสารพิษ (toxin) ก่อโรคจำเป็นต้องมาเกาะที่เยื่อบุผิวของของลำไส้  HMOs มีโครงสร้างคล้ายเยื่อบุผิวลำไส้ จึงหลอกให้จุลินทรีย์ก่อโรค มาจับแทนที่จะไปจับกับเยื่อบุผิวลำไส้ ทารกที่กินนมแม่ที่มีปริมาณ 2’-FL สูงกว่า จะมีโอกาสท้องเสียน้อยกว่าทารกที่กินนมแม่ที่มีปริมาณ 2’-FL น้อยกว่า
  • กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ทารกแรกเกิด จะมีภูมิต้านทานจากแม่ นมแม่ (innate immunity) มาป้องกันเชื้อโรค HMOs กระตุ้นให้เซลล์ที่อยู่บนพื้นผิวลำไส้สร้างภูมิต้านทาน และภูมิต้านทานในกระแสเลือด การศึกษาในหนู หลอดทดลองพบว่าช่วย ลดการติดเชื้อทั้งไวรัส แบคทีเรีย 

 

รู้จัก 2’FL  คืออะไรและพบได้ที่ไหนบ้าง  คุณแม่รู้ไหมว่า นมแม่ที่ลูกดูดทุกวันนั้น ให้คุณประโยชน์ที่ช่วยให้ลูกแข็งแรงและเป็นการสะสมภูมิต้านทานให้กับลูกของคุณ และเจ้า 2’FL หรือ  2’- ฟูโคซิลแลคโตส)  (2’-Fucosyllactose) พบในนมแม่ค่ะ และ 80%  ของแม่หลังคลอด สร้าง 2’-FL ได้  และ 2’-FL คือ HMOs (Human Milk Oligosaccharides) หรือ โอลิโกแซคคาไรด์ชนิดที่พบมากสุดในนมแม่  HMOs สร้างจากเต้านม มีปริมาณมากที่สุดในช่วงน้ำนมเหลือง (คือ นมแม่ที่ออกมา ในช่วง 5 วันหลังคลอด) ซึ่งเป็นสุดยอดของน้ำนมโดยมีสารหลายชนิดที่ให้ภูมิต้านทานสูงมาก โดยเฉพาะ โอลิโกแซคาไรด์    ประโยชน์ของ 2’ FL (2’-fucosyllactose)   	ป้องกันการติดเชื้อของลำไส้ HMOs รวมทั้ง 2’-FL เป็นอาหารของจุลินทรีย์สุขภาพในลำไส้ใหญ่ ซึ่งจุลินทรีย์สุขภาพที่มีจำนวนมาก จะป้องกันการติดเชื้อของลำไส้  	ป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์ก่อโรคมาเกาะผิวลำไส้  (Anti-Adhesive antimicrobial) ไวรัส แบคทีเรีย หรือสารพิษ (toxin) ก่อโรคจำเป็นต้องมาเกาะที่เยื่อบุผิวของของลำไส้  HMOs มีโครงสร้างคล้ายเยื่อบุผิวลำไส้ จึงหลอกให้จุลินทรีย์ก่อโรค มาจับแทนที่จะไปจับกับเยื่อบุผิวลำไส้ ทารกที่กินนมแม่ที่มีปริมาณ 2’-FL สูงกว่า จะมีโอกาสท้องเสียน้อยกว่าทารกที่กินนมแม่ที่มีปริมาณ 2’-FL น้อยกว่า 	กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ทารกแรกเกิด จะมีภูมิต้านทานจากแม่ นมแม่ (innate immunity) มาป้องกันเชื้อโรค HMOs กระตุ้นให้เซลล์ที่อยู่บนพื้นผิวลำไส้สร้างภูมิต้านทาน และภูมิต้านทานในกระแสเลือด  การศึกษาในหนู หลอดทดลองพบว่าช่วย ลดการติดเชื้อทั้งไวรัส แบคทีเรีย

 

ภูมิคุ้มกันแรกสุดเพื่อพัฒนาการและการเรียนรู้ที่ไม่สะดุดของลูกน้อย  
เพื่อให้ลูกน้อยมมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตเต็มที่ แข็งแรง พัฒนาการเต็มศักยภาพ คุณแม่ควรให้ลูกดูดนมแม่เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้หลังคลอด ยิ่งดูดเร็วและบ่อยน้ำนมจะยิ่งมาเร็ว และเริ่มมามากภายใน 3 – 4 วัน หลังคลอด อย่าให้ลูกคุณพลาดโอกาสที่จะได้ดื่มนมแม่ ที่มีสารอาหารมากกว่า 200 ชนิด รวมถึงแร่ธาตุและภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ ช่วยปกป้องลูกจากการติดเชื้อ โดยเฉพาะโรคอุจจาระร่วง โรคภูมิแพ้ โรคอ้วน ที่พบบ่อยในทารก จะเห็นได้ว่า...สารอาหารในนมแม่นั้นน่ามหัศจรรย์มาก เหมือนเป็นสิ่งคุ้มครองลูกน้อยให้แข็งแรงปลอดภัย และเมื่อลูกรักแข็งแรง ก็จะยิ่งส่งเสริมศักยภาพ ในการเรียนรู้ที่ไม่สะดุด ต่อยอดการเรียนรู้ใหม่ๆ ต่อไป เมื่อร่วมกับสารอาหารสมองชนิดอื่นๆที่มีอยู่ในนมแม่ เช่น "สฟิงโกไมอีลิน เพื่อ พัฒนาสมอง เสริมการเรียนรู้ ให้ลูกทำในสิ่งที่เค้าชอบและพัฒนาสู่พรสวรรค์ได้ต่อไป
 


บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

นมแม่สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกได้ด้วยนะ 

เทคนิคเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุดยอดสารอาหารจากแม่สู่ลูก

อ้างอิง

  • Milk Oligosaccharides: A review. International Journal of Dairy Technology 2015; 68 (3): 305-321

บทความแนะนำ

คุณแม่หลังคลอดมีไข้หนาวสั่น พร้อมวิธีดูแลตัวเองเมื่อมีไข้หลังคลอด

คุณแม่หลังคลอดมีไข้หนาวสั่น พร้อมวิธีดูแลตัวเองเมื่อมีไข้หลังคลอด

คุณแม่หลังคลอดมีไข้หนาวสั่น อาการแบบนี้ปกติหรือไม่ ไข้หลังคลอดของคุณแม่ เกิดจากสาเหตุอะไรได้บ้าง คุณแม่หลังคลอดมีไข้หนาวสั่น ควรดูแลร่างกายตัวเองอย่างไร

เด็กขาโก่ง จำเป็นต้องดัดขาลูกไหม ลูกขาโก่งดูยังไง

เด็กขาโก่ง จำเป็นต้องดัดขาลูกไหม ลูกขาโก่งดูยังไง

เด็กขาโก่ง เกิดจากอะไร ภาวะขาโก่งในเด็ก อันตรายไหม ลูกน้อยขาโก่ง คุณแม่ต้องดัดขาลูกทุกวันหรือเปล่า ลูกขาโก่งดูยังไง ไปดูวิธีสังเกตเด็กขาโก่งและวิธีแก้ไขกัน

แผลฝีเย็บไม่ติดกัน แผลสมานไม่สนิท เกิดจากอะไร

แผลฝีเย็บไม่ติดกัน แผลสมานไม่สนิท เกิดจากอะไร

แผลฝีเย็บไม่ติดกัน เกิดจากอะไรได้บ้าง คุณแม่แผลเย็บหลังคลอดไม่ติด แผลจะอักเสบไหม อันตรายกับคุณแม่หลังคลอดหรือเปล่า พร้อมวิธีดูแลแผลฝีเย็บไม่ติดกัน

Overfeeding คืออะไร ให้ลูกกินนมเยอะเกินไป อันตรายแค่ไหน

Overfeeding คืออะไร ให้ลูกกินนมเยอะเกินไป อันตรายแค่ไหน

Overfeeding คืออะไร คุณแม่ให้ลูกกินนมเยอะเกินไป จะเป็นอันตรายกับลูกน้อยไหม ลูกน้อยจะมีอาการอย่างไร เมื่อให้นมลูกเยอะเกิน พร้อมวิธีให้นมลูกน้อยที่ถูกต้อง

ประจำเดือนหลังคลอดจะเริ่มมาเมื่อไหร่ ประจำเดือนหลังคลอดมากี่วัน

ประจำเดือนหลังคลอดจะเริ่มมาเมื่อไหร่ ประจำเดือนหลังคลอดมากี่วัน

ประจำเดือนหลังคลอดจะกลับมาตอนไหน ประจําเดือนหลังคลอดมากี่วัน แบบไหนเรียกผิดปกติ คุณแม่หลังคลอดดูแลตัวเองยังไงให้ร่างกายกลับมาปกติเร็วที่สุด

แม่หลังคลอดกินผลไม้อะไรได้บ้าง ผลไม้ชนิดไหนช่วยฟื้นฟูร่างกาย ดีต่อสุขภาพ

แม่หลังคลอดกินผลไม้อะไรได้บ้าง ผลไม้ชนิดไหนช่วยฟื้นฟูร่างกาย

แม่หลังคลอดกินผลไม้อะไรได้บ้าง ผลไม้ชนิดไหนช่วยให้ร่างกายของคุณแม่แข็งแรงและกระตุ้นน้ำนมให้ไหลดี มีคุณภาพ ช่วยให้สารอาหารส่งถึงลูกโดยตรง ไปดูกัน

ไขบนหัวทารก เกิดจากอะไร คุณแม่ดูแลไขที่หัวทารกได้อย่างไรบ้าง

ไขบนหัวทารก เกิดจากอะไร คุณแม่ดูแลไขที่หัวทารกได้อย่างไรบ้าง

ไขบนหัวทารก เกิดจากสาเหตุอะไร ไขที่หัวทารกอันตรายไหมกับลูกน้อยไหม ไขที่หัวทารกกี่วันถึงหายไป ต้องพาลูกน้อยไปพบแพทย์ไหม พร้อมวิธีดูแลและทำความสะอาดไขบนหัวลูก